ประเพณีสงกรานต์

ประเพณีสงกรานต์ รีวิวขนบธรรมเนียมประเพณีวันสงกรานต์ และความแตกต่างของแต่ละภูมิภาคในประเทศไทย เป็นอย่างไร?

ประเพณีสงกรานต์ รวมประวัติความเป็นมาของขนบธรรมเนียมประเพณีวันสงกรานต์และความแตกต่างของประเพณีสงกรานต์ในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย ผู้คนชาวบ้านพื้นเมือง นิยมปฏิบัติขนบธรรมเนียมประเพณีใดในวันสงกรานต์บ้าง มาติดตามไปพร้อมกัน.

ต้องบอกก่อนเลยว่า กลุ่มคนแต่ละภูมิภาคในประเทศไทย บ้านเรานั้น มีความหลากหลาย และความแตกต่างอยู่มาก ทางด้านวัฒนธรรม และพฤติกรรมการใช้ชีวิต ที่สืบทอดมา แตกต่างกันออกไป แล้วแต่พื้นที่ของภูมิภาคต่างๆ ซึ่งโดยรวมแล้ว และเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ของกลุ่มคนที่ใช้ชีวิต

และขนบธรรมเนียม ภายในประเทศ ที่มีประเพณีอันดีงาม จนได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของ ประเทศที่มีวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม ที่น่าทึ่งชวนหลงไหล ได้เป็นอย่างยิ่ง จากกลุ่มคน ทุกประเทศทั่วโลก ต่างให้ความสนใจ ต่างให้ความนิยมและ ชื่นชอบเป็นอย่างมากที่สุด

ซึ่งหนึ่งในประเพณีขนบธรรมเนียมที่ มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกมากที่สุดในประเทศไทยนั้นก็คือ ประเพณีวันสงกรานต์ และเพื่อใช้เป็นการศึกษา สำหรับท่านใดที่ กำลังศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี ที่แตกต่างในงาน ประเพณีวันสงกรานต์ ของแต่ละภูมิภาคทั้ง 4 ภาค

ในประเทศไทยบ้านเรา ซึ่งมีทั้ง ชื่อเรียกที่คล้ายคือ และอาจแตกต่างกันออกไป แล้วแต่ภูมิภาคนั้นๆ จะใช้เรียกชื่อ ซึ่งจะมีชื่อเรียก ที่แตกต่างอย่างไรกันบ้างนั้น ขอเชิญเพื่อนเพื่อนทุกท่านไปติดตามรับชม กับการรีวิวประเพณีวันสงกรานต์ หัวข้อความแตกต่าง งานวันสงกรานต์ของ

แต่ละภูมิภาคในประเทศไทย ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคอีสาน แต่ละภูมิภาคมีการจัดประเพณีงานวันสงกาน ที่แตกต่างอย่างไร? กันบ้างนั้น เชิญไปติดตามรับชมพร้อมกันได้เลย

ป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง ประเพณีสงกรานต์ภาคเหนือ มีความแตกต่างอย่างไร?

ประเพณีสงกรานต์

ประเพณีสงกรานต์ภาคเหนือ ล้านนา หรือที่ถูกเรียกอีกอย่างว่า ป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง ถือเป็นหนึ่งในงานประเพณี รีวิวสงกรานต์ภาคเหนือ อันเก่าแก่ที่มีมาแต่โบราณ โดดเด่นและเป็นที่ได้รับความสนใจอย่างมาก มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นประเพณีที่มีความโดดเด่น สงกรานต์ภาคเหนือ และถูกสืบทอดมาอย่างยาวนานเรื่อยมา

รีวิวสงกรานต์ภาคเหนือ ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ วันสังขารล่อง ตรงกับวันที่ 13 เมษายน เป็นวันทำความสะอาด ดูแลพื้นที่ภายในบ้าน ให้สะอาดทั้งหมด เพื่อเป็นการต้อนรับ นำเอาสิ่งดีดีเข้ามา ถือเป็นสิริมงคล ที่ช่วยส่งเสริมให้กับ ผู้อยู่อาศัยภายในบ้าน ต่อมาเป็น วันเนา หรือ วันเน่า ตรงกับวันที่ 14 เมษายน เป็นวันห้ามพูดคำหยาบ

สงกรานต์ภาคเหนือ และห้ามด่าทอใคร หรือใครที่ด่าทอว่าร้าย ก็จะทำให้ได้รับโชคร้าย อย่างต่อเนื่อง ไปตลอดทั้งปีนั้นๆ วันต่อมาคือ วันพญาวัน รีวิวสงกรานต์ภาคเหนือ หรือถูกเรียกในอีกชื่อว่า วันเถลิงศก ซึ่งจะตรงกับวันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ชาวบ้านกลุ่มคนที่นับถือศาสนาพุทธโดยส่วนใหญ่จะตื่นเช้าทำบุญตักบาตร

ละหาโอกาสเข้าวัดเพื่อฟังธรรม ก่อนที่จะใช้ช่วงเวลาที่เหลือไปกับการ ทำกิจกรรมโปรดน้ำ หรือรถน้ำดำหัวญาติผู้ใหญ่ สงกรานต์ภาคเหนือ วันต่อมาคือ วันปากปี ตรงกับวันที่ 16 เมษายน ชาวบ้านจะพากันออกเดินทางไปตามวัดวาอารามเพื่อห่ากันไปรถน้ำเจ้าอาวาส ตามสถานวัดวาอารามต่างๆ

เชื่อว่าเป็นการขอขมาคาราวะ ระวังสุดท้ายคือ วันปากเดือน วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่กลุ่มชาวบ้าน เชื่อว่าเป็นวัน ส่งท้ายเคราะห์วันสุดท้าย สงกรานต์ภาคเหนือ รีวิวสงกรานต์ภาคเหนือ ซึ่งเป็นวันประกาศปิดฉาก ประเพณีสงกรานต์ล้านนา ก่อนที่จะเข้าวันสุดท้ายนั่นก็คือ วันปากวัน ในวันที่ 18 เมษายนนั่นเอง.

บุญเดือนห้า ประเพณีสงกรานต์ภาคอีสาน มีความแตกต่างอย่างไร?

ประเพณีสงกรานต์

ประเพณีสงกรานต์ภาคอีสาน ถือเป็นอีกหนึ่งในประเพณีงานวันสงกรานต์ยอดนิยมที่ขึ้นชื่อ รีวิวสงกรานต์ภาคอีสาน และมีชื่อเสียงมากที่สุด ในประเทศไทยกันเลยทีเดียว ซึ่งนิยมจัดงาน ในแบบที่ค่อนข้างเรียบง่าย แต่ทว่ากลับมากไปด้วยความอบอุ่นอันเหลือ โดยกลุ่มคนส่วนใหญ่ ของคนพื้นเมือง สงกรานต์ภาคอีสาน ในภูมิภาคอีสาน

รีวิวสงกรานต์ภาคอีสาน จะเรียกประเพณี งานบุญวันสงกรานต์นี้ว่า บุญเดือนห้า หรืออีกชื่อเรียกหนึ่งคือ ตรุษสงกรานต์ ทั้งในบางพื้นที่ อาจเรียกว่าประเพณีงานบุญนี้ว่า เนา อีกด้วย. โดยจะยึดถือฤกษ์หลัก ในการจัดงาน ตรงกับวันที่ 15 ค่ำเดือน 5 ช่วงเวลาบ่าย 3 โมง เป็นเวลาเปิดงานหลัก ซึ่งจะเริ่มพิธีเปิดงาน

สงกรานต์ภาคอีสาน โดยส่วนใหญ่จะนิมนต์ พระสงฆ์ให้เสียงสัญญาณ ด้วยการตีกลองโฮม เพื่อเปิดศักราชใหม่ จากนั้นกลุ่มญาติโยม รีวิวสงกรานต์ภาคอีสาน ก็จะจัดเตรียม นำเอาน้ำอบ หาบแห่ไปรวมที่ศาลาวัด เพื่อพาญาติโยมทุกคน ร่วมสรงน้ำพระพุทธรูปพร้อมกัน ต่อจากนั้น สงกรานต์ภาคอีสาน ก็ต่อด้วยขนบธรรมเนียมประเพณียอดนิยม

กับการรดน้ำดำหัวผู้หลักผู้ใหญ่ พ่อ แม่ ตา ยาย ปู่ ย่า และญาติผู้ใหญ่ เพื่อเป็นการขอขมา ลาโทษจากกระทำ ทั้งที่ตั้งใจก็ดี สงกรานต์ภาคอีสาน รีวิวสงกรานต์ภาคอีสาน ไม่ตั้งใจก็ดี ก่อนที่จะปิดท้ายด้วย ประเพณีการเล่นสาดน้ำ วันสงกรานต์กัน อย่างสนุกสนาน ในแบบขนบธรรมเนียม ประเพณีการละเล่นอันยอดนิยมนั้นเอง

ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์ภาคใต้ 

ประเพณีสงกรานต์

ประเพณีสงกรานต์ภาคใต้ จากการบอกเล่าเรื่องราว ตำนานความเชื่อ ของขนบธรรมเนียม ประเพณีงานวันสงกรานต์ ในแบบฉบับดั้งเดิม ภูมิภาคในภาคใต้ มีความเชื่อกันว่า สงกรานต์ เป็นช่วงผันเปลี่ยน ของเทวดา ผู้รักษาดวงชะตาของคนเมืองนคร รีวิวสงกรานต์ภาคใต้ เป็นคนใหม่ สงกรานต์ภาคใต้ ประเพณีสงกรานต์ภาคใต้ พวกเขาจึงได้ ยึดถือเอาหลัก วันแรกของสงกรานต์

รีวิวสงกรานต์ภาคใต้ ที่จะตรงกับวันที่ 13 เมษายน เป็นวันส่งเจ้าเมืองเก่า ซึ่งจะมีการเข้าทำพิธีกรรมสะเดาะเคราะห์ ประเพณีสงกรานต์ภาคใต้ รีวิวสงกรานต์ภาคใต้ เพื่อนำเอาสิ่งไม่ดีออกไป ต่อมาเป็น วันว่าง ที่จะตรงกับวันที่ 14 เมษายนวันที่สอง ของวันสงกรานต์ ชาวนคร สงกรานต์ภาคใต้ จะเข้าวัดทำบุญตักบาตร และร่วมกัน สรงน้ำพระพุทธรูป สรงน้ำพระที่วัด.

สงกรานต์ภาคใต้ ก่อนที่จะตรงกับวันที่ 15 เมษายนวันที่สาม ของงานวันสงกรานต์คือ สงกรานต์ภาคใต้ วันรับเจ้าเมืองใหม่ ประเพณีสงกรานต์ภาคใต้ รีวิวสงกรานต์ภาคใต้ ซึ่งจะมีการจัดเตรียมทำพิธีต้อนรับเทวดาองค์ใหม่ ด้วยรูปแบบการจัดงานคือ การแต่งองค์ทรงเครื่องอย่างสวยงาม และร่วมเดินขบวน ในงานพิธีกรรมต้อนรับเทวดาองค์ใหม่ เป็นสีสันและ ความเชื่อที่น่าดึงดูด ชวนหลงใหล ได้เป็นอย่างยิ่งเลยทีเดียว

ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์ภาคกลาง

ประเพณีสงกรานต์ภาคกลาง หนึ่งในภูมิภาคที่ มีการรวมนำเอา ขนบธรรมเนียมประเพณี ประเพณีสงกรานต์ภาคกลาง รีวิวสงกรานต์ภาคกลาง อันดีงามของประเทศไทย ในแต่ละพื้นที่ ของแต่ละภูมิภาค อันเลื่องชื่อรายอดนิยม ที่ดีที่สุดมารวมกัน ซึ่งเริ่มต้นวันที่ 13 เมษายนเป็นวันหลัก สงกรานต์ภาคกลาง เปิดศักราชแรกของ วันมหาสงกรานต์ เทศกาลเล่นน้ำ ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก ต่อมาวันที่ 14 เมษายนเป็น

รีวิวสงกรานต์ภาคกลาง วันกลาง หรือ วันเนา และวันที่ 15 เมษายนเป็น วันเถลิงศก รีวิวสงกรานต์ภาคกลาง โดยประชาชนส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีสงกรานต์ภาคกลาง จะใช้ทั้งสามวันที่ว่านี้ ไปกับการทำกิจกรรมในช่วงเช้า ด้วยการประกอบพิธีทางศาสนา ตอนเช้าเข้าวัดฟังธรรม สงกรานต์ภาคกลาง ทำบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ทำบุญกรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศล ให้กับเราเจ้ากรรมนายเวร

สงกรานต์ภาคกลาง ญาติผู้ล่วงลับ ต่อด้วยการสรงน้ำพระ และร่วมกันขนทรายเข้าวัด ก่อเจดีย์ทรายนั้นเอง สงกรานต์ภาคกลาง และนี่ก็คือขนบธรรมเนียม รีวิวสงกรานต์ภาคกลาง ประเพณีสงกรานต์ภาคกลาง ประเพณีงานวันสงกรานต์ อันเลื่องชื่อและ เป็นที่นิยมมากที่สุด 

ประเพณีบูชา

ข่าวเทคโนโลยีใหม่ๆ

ดูบอลฟรี