ประเพณีภาคเหนือ งานประเพณี ของทางภาคเหนือ ที่จัดขึ้นเป็น ประเพณีท้องถิ่น จะน่าสนใจแค่ไหน?
ประเพณีภาคเหนือ เราจะมาเริ่มต้นกันที่ ประเพณีท้องถิ่น ที่ไม่ใช่เฉพาะคนล้านนาห รือชาวภาคเหนือเท่านั้น ที่รู้จักแต่ประเพณีนี้ รู้จักกันไปทั่วทั้งประเทศ เลยก็ว่าได้ สำหรับประเพณีปี๋ใหม่เมือง ประเพณีท้องถิ่น เป็นประเพณีเก่าแก่ ดั้งเดิมของชาวล้านนา จะจัดขึ้นในช่วงเดือนเมษายน หรือเป็นช่วงที่มีการเริ่มเปลี่ยน และนับศักราชใหม่ สมาชิกในครอบครัว จะร่วมกันทำบุญตักบาตร และน้ำและส่งน้ำพระ
ทั้งยังมีการขอพรจากญาติผู้ใหญ่ เพณีนี้เป็น งานประเพณี ที่มีความคล้ายคลึง กับประเพณีสงกรานต์ ของประเทศไทย ก็คงจะไม่ผิด เพราะมีความคล้ายคลึง กันเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม งานประเพณี นี้ได้รับความนิยม เป็นอย่างยิ่ง จากบรรดานักท่องเที่ยว
ที่เป็นชาวไทยและ ชาวต่างชาติ นิยมที่จะไปเล่นสาดน้ำกัน เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พื้นที่สำคัญที่ได้รับความนิยม ของเทศกาลแห่งนี้ นั่นก็คือจังหวัดเชียงใหม่นั่นเอง จะได้ว่าเป็นหนึ่งใน ประเพณีท้องถิ่น ที่มีความน่าสนใจ และได้รับความนิยม อยู่ไม่น้อยเป็นประจำทุกปี
ประเพณีภาคเหนือ วัฒนธรรมและประเพณี ที่สืบต่อกันมาเป็น ประเพณีล้านนา มีที่มาอย่างไร?
วัฒนธรรมและประเพณี ของชาวล้านนา ที่ค่อนข้างที่จะ มีความเป็นมาอย่างยาวนาน เกี่ยวข้องกับ วัฒนธรรมและประเพณี ที่ค่อนข้างจะเก่าแก่ และร่วมของ ประเพณีล้านนา ชาวพื้นเมือง คงจะต้องรู้จักประเพณีนี้ กันเป็นอย่างดีนั่นก็คือ ประเพณีฟ้อนผีมด-ผีเม็ง
ประเพณีถึงกับการ ทรงเจ้าเข้าผี จะเป็นผีเจ้าพ่อของชนท้องถิ่น จะมีการฟ้อนรำเ พื่อถวายผีบรรพบุรุษ โดยชาวล้านนาส่วนใหญ่ จะมีการนับถือ และคนข้างที่จะมีความเชื่อ ในเรื่องนี้กัน เป็นจำนวนมาก โดยเป็น ประเพณีล้านนา ที่มีความเก่าแก่แ ละคาดว่ารับอิทธิพล
มาจากชาวมอญนั่นเอง โดยคำว่าเม็ง ในภาษาเหนือ หมายถึงชาวมอญ โดยผู้ที่เข้ามาร่วมภาย ในงาน ก็จะต้องแต่งกาย คล้ายคลึงกับชาวมอญ ประเพณีดังกล่าวนิยมจะขึ้น ในพื้นที่จังหวัดลำปาง และมักจะทำ ในช่วงเดือน 5 ของภาคเหนือ
หลังจากที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตเสร็จแล้ว ชาวบ้านก็จะมารวมตัวกัน เพื่อพบปะ และจัดเตรียมงานดังกล่าวนั้นเอง จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรม และประเพณีที่ค่อนข้างจะ มีความเชื่อที่เหนียวแน่น และเป็น ประเพณีล้านนา ที่ค่อนข้างจะได้รับความนิยม ในท้องถิ่นเป็นอย่างยิ่ง
ประเพณีภาคเหนือ วัฒนธรรมล้านนา ที่เป็น ประเพณีเก่าแก่ จะเป็นของจังหวัดไหน?
แล้วมาถึงคิวของ ประเพณีเก่าแก่ และเรียก วัฒนธรรมล้านนา ที่มีมาตั้งแต่โบราณ จัดได้ว่าเป็น วัฒนธรรมล้านนา ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างยิ่ง คนส่วนใหญ่ อาจจะไม่ทราบว่า พี่น้องชาวเหนือของเรานั้นมี ประเพณีเก่าแก่ ขนาดนี้มาเป็นระยะเวลา นับร้อยปีมาแล้ว
มาดูกันดีกว่าว่า ประเพณีเก่าแก่ ที่ว่าจะเป็นวัฒนธรรม ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ไว้เพียงใด ให้อยากรู้นะไปติดพร้อมกันเลยว่านี่จะเป็นวัฒนธรรม และเป็นสิ่งที่ผู้คนควร ที่จะเรียนรู้ถึงวัฒนธรรม ประเพณีเก่าแก่ นี้มากน้อยแค่ไหน ประเพณีปอยหลวงภาษาเหนือ
หรือภาษาล้านนานั้น คำว่าปอยหลวง มีความหมายว่า เป็นการจัดงานเฉลิมฉลอง ศาสนสถานที่สร้างขึ้น และเป็นสถานที่ที่ชาวบ้าน ศรัทธาเคารพนับถือ ไม่ว่าจะเป็น โบสถ์ วิหาร ศาลากุฏิ เหล่านี้เราจะเรียกกันว่าปอยหลวง ภายในงานดังกล่าว ก็จะมีการประดับประดาไปด้วย
ดิ้นสีทองสีเงิน รวมไปถึง การประดับรูป 12 ปีนักษัตร และที่ขาดไม่ได้เลยก็คือตุงนั่นเอง ก็คือสิ่งที่ชาวบ้าน ได้ทำการประดิษฐ์มาจากผ้าฝ้ายหลายๆสี เป็นเอกลักษณ์ที่สวยงาม เป็นอย่างมากงานนี้ ส่วนใหญ่แล้วนิยมจัดขึ้นราวๆ 2-3 วัน ใครที่กำลังศึกษา วัฒนธรรมล้านนา ไม่ควรพลาดที่จะมาเยือน งานประเพณีอันเก่าแก่งานนี้
เที่ยวงานประเพณี ซึ่งเป็น ประเพณีโบราณ จะเป็นงานอะไร
นี่คือ ประเพณีโบราณ แสดงว่าเป็น ประเพณีโบราณ ที่มีตั้งแต่ สมัยครั้งพุทธกาล เลยก็ว่าได้ และประเพณีดังกล่าว มีการสืบต่อมา เป็นระยะเวลาอย่างยาวนาน สำหรับประเพณีนี้มีชื่อว่า ประเพณีตานก๋วยสลาก จะเป็นการถวายทาน หรือทำบุญอุทิศส่วนกุศล โดยที่ไม่ได้เจาะจง
ว่าผู้รับจะต้องเป็นญาติพี่น้อง หรือคนในครอบครัว สามารถที่จะทำบุญ ให้และทาน ให้ใครก็ได้ ประเพณีนี้จัดได้ว่า เป็นหนึ่งใน ประเพณีโบราณ ของพระพุทธศาสนาในเมืองไทยเลยก็ว่าได้ ชาวบ้านส่วนใหญ่ ที่เว้นว่างจากการทำนา ก็จะนำผลไม้รากไม้ต่างๆ
มาถวายให้แก่พระสงฆ์ เพื่อเป็นทานให้กับผู้ยากไร้ ใครที่อยากจะมา เที่ยวงานประเพณี งานนี้แนะนำเลยว่า ควรที่จะมาในช่วง เดือนตุลาคม จะได้เห็น งดงามของประเพณี และจะได้เห็นวิถีชีวิตของชาวบ้าน เป็นอย่างดี สำหรับด้าน เที่ยวงานประเพณี ในครั้งนี้ใครที่อยากจะ
ซึมซับบรรยากาศ ความเป็นล้านนาจะต้องมา เที่ยวงานประเพณี ดังกล่าวให้ได้
ประเพณี12เดือน เรียกได้ว่าเป็น ประเพณีของไทย ที่มีความเก่าแก่
เราจะไปทำความรู้จัก ประเพณีของไทย หรือว่าเป็นรากเหง้า และความเก่าแก่ ของประเพณีชาวเหนือเมืองล้านนาเลย ก็ว่าได้ เพราะชาวไทย ที่อยู่ในโซนภาคเหนือ ส่วนใหญ่ก็มีการอพยพถิ่นฐาน มาตั้งรกราก บ้างก็มีชาติพันธุ์ต่างๆ อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นแล้ว
ประเพณี12เดือน ของเมืองล้านนานั้น หรือเป็นประเพณีคนเมือง ก็เป็นหนึ่งใน ประเพณีของไทย ที่มีความเก่าแก่เป็นอย่างมาก เรามาดูกันดีกว่าว่า ประเพณี12เดือน ของคนล้านนา เขามีที่มาที่ไป และประวัติความเป็นมาอย่างไร ในแต่ละเดือนเริ่มต้นกันที่เดือนแรก เ
ดือนเกี๋ยง (ตุลาคม) มีประเพณีออกพรรษา หรือที่เรียกกันว่า ตานก๋วยสลาก เงินเดือนที่สอง หรือเดือนยี่ต้น ก็คือเดือนพฤศจิกายน จะมีประเพณีลอยกระทง หรือประเพณียี่เป็งนั่นเอง 3 อย่างเดือนอ้าย เดือนธันวาคมจะมีประเพณี แต่งงาน เทศน์มหาชาติ และฮ้องขวัญข้าว
ส่วนงานประเพณีปีใหม่ ขึ้นบ้านใหม่ จะอยู่ในเดือนมกราคม หรือเดือนที่เรียกว่าเดือน 4 นั่นเอง เดือนที่ 5 เดือนกุมภาพันธ์จะมีประเพณีปอยหลวงส่วนเดือนที่ 6 เดือนมีนาคมจะมีการทำบุญปอยน้อย บวชเณร และขึ้นพระธาตุส่วนเดือนที่ 7 อย่างเมษายนก็จะเป็นประเพณี
ปี๋ใหม่เมือง หรือประเพณีสงกรานต์ หมายถึงเดือนที่ 8 อย่างเดือนพฤษภาคม จะมีประเพณีบวชเณร ไหว้พระธาตุวันวิสาขบูชา เดือนที่ 9 เดือนมิถุนายนจะมีประเพณีไหว้พระธาตุส่วนเรือนที่ 10 อย่างเดือนกรกฎาคม ก็จะมีประเพณีการเข้าพรรษา ประเพณี12เดือน
เดินทางมาถึงเดือนที่ 11 อย่างเดือนสิงหาคม ก็จะมีการตานข้าวคนเฒ่าจำศีล และเดือนที่ 12 เดือนกันยายน มีประเพณี ตานสลากภัตจาคะข้าว เพื่ออุทิศถึงผู้ตาย